當前位置

首頁 > 語言學習 > 泰語學習 > 【大科普】巧辨巴利語梵語詞綴,泰語也能用“公式”猜單詞

【大科普】巧辨巴利語梵語詞綴,泰語也能用“公式”猜單詞

推薦人: 來源: 閱讀: 8.21K 次

本小編總是喜歡寫一些稀奇古怪的科普文,寫了那麼多分類詞彙,發現同學們都很頭疼一些單詞拼寫,因爲泰語中有大量的詞是從巴利語和梵語借過來的,許多拼寫奇奇怪怪,讓人摸不着頭腦。今天的科普文旨在讓大家簡單瞭解泰語中的巴利語梵語藉詞的特徵,並學習一些常用的巴利語、梵語前綴,我希望這篇文章能夠幫助大家通過“公式”猜出一部分陌生泰語單詞的含義。一起來學習吧~

ing-bottom: 66.72%;">【大科普】巧辨巴利語梵語詞綴,泰語也能用“公式”猜單詞

คำบาลีและสันสกฤต คำไทยเรามีคำภาษาอื่น เช่น บาลีสันสกฤต เขมร จีน เป็นต้น ปนอยู่มาก แต่คำภาษาอื่นนอกจากบาลีและสันสกฤต มี ลักษณะอย่างเดียวกับคำภาษาไทย แต่คำบาลีและสันสกฤตมีลักษณะผิดกับภาษาไทยอยู่บ้าง จึงต้องคัดบางอย่างมากล่าวไว้เป็นพิเศษ ดังต่อไปนี้

巴利語詞和梵語詞:我們所學的泰語也有很多來自其他語言的詞彙,比如巴梵語(巴利語梵語)、高棉語(來自柬埔寨)、漢語等多種語言混合在其中。但是除了巴利語和梵語以外的其他語言外來詞,都有和泰語本土詞彙同樣的拼寫特徵。只有那些來自於巴利語和梵語的詞彙,它們的拼寫或多或少都和泰語的拼寫規則有些許出入,所以專門挑選了一些來給大家說明,詳見下文分析。

【大科普】巧辨巴利語梵語詞綴,泰語也能用“公式”猜單詞 第2張

พยางค์ประกอบหน้าศัพท์ คำจำพวกนี้เรียกว่า ‘อุปสรรค’ ใช้ประกอบหน้าศัพท์ เพื่อขยายความของศัพท์นั้นให้ต่างออกไป คล้ายคำวิเศษณ์ ในภาษาไทย แต่ไม่นับเป็นคำหนึ่งต่างหากอย่างคำวิเศษณ์ ถึงที่นำมาใช้ใน ภาษาไทย ก็ต้องนับรวมเข้าเป็นคำเดียวกับคำข้างท้ายเหมือนกัน อุปสรรคนี้ โดยมากใช้นำหน้าแต่คำบาลีและสันสกฤตเท่านั้น ไม่ใคร่ใช้นำหน้าคำไทย เว้นแต่คำโบราณบางคำ เช่น ‘ทร’ ซึ่งแผลงมาจากอุปสรรค ‘ทุ’ แปลว่า ชั่ว ยาก ใช้นำหน้าคำ ‘หู’ และ ‘หน’ เป็น ‘ทรหู’ แปลว่า หูชั่ว หมายความว่าได้ยินข่าวร้าย และ ‘ทรหน’ แปลว่า ทางลำบาก ทางไกล เป็นต้น

詞前組合音節:這一類詞叫作“前綴”,用來加在單詞前面,以豐富擴展原詞的含義。前綴的作用和泰語中的副詞差不多,但其不能像副詞那樣單獨算成一個單詞。這些前綴在泰語中使用時,必須和後面跟着的其他獨立單詞共同構成一個新單詞。這一類前綴,大多數只用在巴利語和梵語的借來詞前面,不可以加在泰語本土詞彙前面,一些古老的詞彙除外,比如“ทร”就由前綴“ทุ”變形而來,譯爲“壞的、困難”,用來加在“หู(耳朵)”或者“หน(次、路)”前面,分別可以組成單詞“ทรหู”,譯爲“耳聞不祥,意思是聽到一些壞消息(後在詩詞皇室用語中意爲:渴望知曉、叫喊)”;而“ทรหน”,則譯爲“艱途、遠路”等等。

讀音:

ทรหู(ทอ-ระ-หู)

ทรหน(ทอ-ระ-หน)

點擊可收聽語音朗讀

【大科普】巧辨巴利語梵語詞綴,泰語也能用“公式”猜單詞 第3張

常見的巴利語、梵語詞前綴如下:

 

【1】สุ- [前綴]

含義:好、美、容易

變體:โส-, สุว-, เสาว-, สร-

例詞:

สุภาพ 文雅、有教養=สุ+ภาพ(好+圖畫)

โสภา 美觀、光彩=โส+ภา(美+光)

สุ(ว)คนธ์ 香氣、香料=สุ(ว)+คนธ์(好+氣味)

เสาวรส 可口、百香果=เสาว+รส(香+味道)

สรเลข (古代)文官職稱=สร+เลข(好+數字)

 

【2】ทุ- [前綴]

含義:壞、惡、難

變體:ทร-, ทุร-

例詞:

① ทุศีล 違反戒律、破戒=ทุ+ศีล(壞+戒律)

② ทุรชน 壞人、惡棍=ทุร+ชน(壞+人)

③ ทรพิษ 劇毒=ทร+พิษ(壞+毒)

④ ทรหน 艱途=ทร+หน(壞+路)

 

【3】นิ- [前綴]

含義:沒有、無、不存在

變體:นฤ-, นิร-, เนร-

例詞:

นิรภัย 安全、保險=นิร+ภัย (沒有+災難)

เนรคุณ 忘恩負義=เนร+คุณ(沒有+恩)

注意:คุณ 除了“你”的意思外,還有“恩”的意思。

 

【4】สํ- [前綴]

含義:一起、自己、集中、美好

變體:สง-, สัญ-, สม-, สัง-

例詞:

สัญจร 交通=สัญ+จร(集中+走動)

สังวาส 同居、房事=สัง+วาส(一起+居所)

สังเคราะห์ 彙集、合成=สัง+เคราะห์(集中+行星、運氣)

 

【5】วิ- [前綴]

含義:特別、亮、不同

變體:พิ-

例詞:

วิจิตร 五光十色=วิ+จิตร(亮+鮮豔、奇異)

วิวิธ 各種各樣=วิ+วิธ(特別+種類)

พิมุข 後面=พิ+มุข(不同+前面)

 

【6】อภิ- [前綴]

含義:大、超、格外、專門

變體:ภิ-, อัพภ-

例詞:

อภิรมย์ 無比歡樂=อภิ+รมย์(大+可喜)

ภิรมย์ (簡化自 อภิรมย์

อภิปราย 討論、商討=อภิ+ปราย(專門+散佈、播)

 

【7】อติ- [前綴]

含義:超過、越過

變體:อดิ-

例詞:

อดิเรก 業餘、業餘消遣(由 อติ+เอก 音變構成,งานอดิเรก 業餘工作、兼職)

อดิศัย 傑出

 

【8】อนุ- [前綴]

含義:小、後、跟隨

變體:นุ-

例詞:

อนุบาล 幼兒園=อนุ+บาล(小+養育、維護)

อนุชน 後輩=อนุ+ชน(後+人)

อนุชา 弟弟=อนุ+ชา(小+隸屬)

 

【9】อว- [前綴]

含義:降臨、低微

變體:โอ-

例詞:

อวตาร 神靈降世

โอภาส 燦爛=โอ+ภาส(降臨+光輝)

อวชาต 出身卑微=อว+ชาต(低微+出生)

 

【10】อา- [前綴]

含義:遍佈、超、繁榮、相反

例詞:

อาพัทธ์ 聯結、附着=อา+พัทธ์(超+相連)

อามิษ 發達(=อามิส)

 

【11】อุ- [前綴]

含義:上升、外

例詞:

อุทัย 旭日東昇、繁榮=อุ+ทัย(上升+恩澤)

 

【12】อุป- [前綴]

含義:進、近、旁、副

例詞:

อุปราช 宰相=อุป+ราช(副+君主)

อุปนายก 副主席=อุป+นายก(副+主席)

อุปาทาน [佛] 四取、供給=อุป+อาทาน(近+掌握)

 

【13】ป- [前綴]

含義:遍及、先、前

變體:ประ-

例詞:

ปภพ 更早出生;出生地=ป+ภพ(先+土地;遍及+土地)

ประภพ 同“ปภพ

ประมาท 疏忽大意=ประ+มาท(先+麻醉)

ประเทศ 國家=ประ+เทศ(遍及+地區)

 

【14】ปฏิ- [前綴]

含義:專門、重複、反

變體:ประติ-

例詞:

ปฏิทิน 日曆=ปฏิ+ทิน(重複+白晝)

ปฏิโลม 倒回、逆毛=ปฏิ+โลม(反+撫摸)

 

【15】ปรา- [前綴]

含義:反、構成反義詞

變體:ปะรา-

例詞:

ปราชัย 輸、敗北=ปรา+ชัย(不+贏)

ปราภวะ 破滅、破產=ปรา+ภวะ(不+繁榮)

 

【16】ปริ- [前綴]

含義:周圍

變體:บริ-, บรร-

例詞:

บริหาร 管理(同 บรรหาร, ปริหาร

② ปริมาตร 體積=ปริ+มาตร(周圍+度量)

 

【17】อ-, อน- [呼語]

含義:不是、沒有

這兩個比較特殊,不能算作前綴,來自於 這個詞,是“呼語”(說話中對所呼喚的人或事物的稱呼,屬於獨立成分)。但是用法和前綴是一樣的,直接加在詞首。

例詞:

อกุศล 不善=อ+กุศล(不是+善)

อลัชชี (佛)不知廉恥、違反僧規=อ+ลัชชี(不是+難爲情的人)

注意:帶有อน詞綴的單詞,可拆成“อน-”和“อ(輔音)”分析。

例詞:

อเนก 非單一的=อน+เอก(不是+唯一)

④ อเนกประสงค์ 多功能的

⑤ อนันต์ 無數的=อน+อันต(沒有+盡頭)

【大科普】巧辨巴利語梵語詞綴,泰語也能用“公式”猜單詞 第4張

พยางค์ประกอบท้ายศัพท์ คำเหล่านี้ในภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตมีอยู่ ๒ พวก เรียกว่า ‘ปัจจัย’ พวกหนึ่ง และ ‘วิภัตติ’ พวกหนึ่ง คำบาลี และสันสกฤต ต้องมี ปัจจัย และ วิภัตติ ประกอบอยู่ข้างท้ายแทบทั้งนั้น

詞尾組合音節:這一類詞叫作“後綴”。後綴在巴利語和梵語中有兩組,一組叫作“ปัจจัย”,另一組叫作“วิภัตติ”。在巴利語和梵語中,幾乎每個單詞後面都會由 ปัจจัย 和 วิภัตติ 組成。

【大科普】巧辨巴利語梵語詞綴,泰語也能用“公式”猜單詞 第5張

๑. ปัจจัย นั้นใช้ประกอบท้ายศัพท์เดิม บางทีก็เชื่อมอยู่กับศัพท์เดิมทีเดียว บางทีก็ต่อท้ายออกมาให้เห็นได้ง่าย สำหรับเป็นเครื่องหมายบอก มาลา กาล วาจก ลึงค์ ฯลฯ ของศัพท์นั้น ๆ นับว่าเป็นส่วนสำคัญในไวยากรณ์ของเขา แต่ตกมาในภาษาไทย ไม่สู้สำคัญอะไรนัก เพราะศัพท์ที่เรานำมาใช้ มีปัจจัยประกอบสำเร็จมาในตัวแล้วทั้งนั้น จะเลือกคัดปัจจัยที่ใช้ในภาษาไทยชุกชุมมาไว้พอเป็นที่สังเกตดังต่อไปนี้

1. ปัจจัย 用來和原來的單詞搭配組合,有時候用來銜接原詞,有時候直接加在原詞後面,這種很容易辨認。在巴利語和梵語中,後綴主要是用來說明語氣、時態、語態,以及詞性等等,算是巴利語和梵語語法很重要的一部分。但是用在泰語上時,就沒有多大的重要性了,因爲泰語借用過來的時候,單詞就已經附帶了後綴。我給大家挑選了一些高頻後綴,詳見下文分析。

 

【1】-ก [後綴]

含義:...類、人

用法:加在動詞後面,構成“做某事的人”

例詞:

จรก 遊客=จร+ก(遊蕩+的人)

ทายก 施主、佈施者=ทาย+ก(給予+的人)

 

【2】-น, -ณ, -ตา, -ติ [後綴]

作用:構成動名詞

用法:加在動詞後面,使其變爲動名詞;加在 後面時,要用 -ณ

例詞:

ศาสน์ [名詞] 教育(ศาส命令、指導+น

มรณ [名詞] 死亡(มร+ณ

กตัญญตา [名詞] 孝心(กตัญญู+ตา

 

【3】-อนีย, -นีย [後綴]

含義:應該

用法:加在動詞後面;加在 後面時,要變成 -อณีย์ -ณีย์

例詞:

กรณีย์ 義務=กร+อณีย(做+應該)

ไปรษณีย์ 郵政=ไปรษ+อณีย (寄送+應該)

【大科普】巧辨巴利語梵語詞綴,泰語也能用“公式”猜單詞 第6張

๒. วิภัตติ เป็นเครื่องหมายประกอบท้ายศัพท์ ต่อจากปัจจัยออกไปอีก ศัพท์ในภาษาบาลีและสันสกฤตนอกจากจำพวกนิบาต ซึ่งคล้ายกับสันธาน ในภาษาไทยแล้ว เป็นต้องมีวิภัตติประกอบอยู่ด้วยแทบทั้งนั้น ใช้ประกอบท้ายนาม เพื่อบอก การก พจน์ ฯลฯ เช่น โจโร โจรคนเดียว โจรา โจรหลายคน ส่วนคำกริยาก็มีวิภัตติประกอบเหมือนกัน เพื่อบอก มาลา กาล วาจก ฯลฯ  เช่น กโรติ (เขากระทำ) กโรสิ (ท่านกระทำ) กโรมิ (ฉันกระทำ) "ติ" "สิ" "มิ" นี้เป็นวิภัตติบอกเวลาปรัตยุบัน และเป็นเอกพจน์ เป็นต้น

2. วิภัตติ 是另一種後綴的標誌,它要接在 ปัจจัย 後綴的後面。巴利語和梵語中的單詞除了有和泰語連詞相似的呼語之外,還要有 วิภัตติ 加在名詞詞尾,用來表明詞的“格”和“數”,比如:โจโร(一個賊),โจรา(多個賊)。當然,也有專門針對動詞的 วิภัตติ,用來表示語氣、時態、語態等等。比如:กโรติ(他做),กโรสิ(您做),กโรมิ(我做)。“ติ”“สิ”“มิ”這三個就是一般現在時態下的單數人稱動詞變位的後綴。

วิภัตตินี้ เราไม่ได้นำมาใช้ในภาษาไทย เป็นแต่ติดมาบ้างในคำประพันธ์ แต่ก็เพื่อให้สัมผัสคล้องกันเท่านั้น ไม่ได้ประสงค์จะบอก การก หรือ พจน์ อย่างในภาษาของเขา เพราะฉะนั้นจึงไม่ต้องอธิบายให้พิสดารยิ่งกว่านี้

不過,這種叫作 วิภัตติ 的後綴,泰語裏面是沒有使用到的,僅僅在一些韻體詩中才能夠見到,但用途也僅僅是使其押韻而已,並不像巴利語和梵語那樣具有限制詞的“格”和“數”的作用,所以我們也就不再詳細解釋了。

【大科普】巧辨巴利語梵語詞綴,泰語也能用“公式”猜單詞 第7張

總結到這裏,我們可以看到巴利語和梵語的借來詞中,出現了很多性、數、格的概念,這在歐洲語言中大量的出現,也別忘了,巴利語和梵語,本來就屬於印歐語系,會有很多語法、構詞的變化。

而泰語屬於分析語(孤立語),即本身沒有時態和格的變化,所以我們在深入瞭解這些借來詞源頭的時候,也不要過於鑽牛角尖,瞭解詞源是幫助我們更好的分析詞彙,而不是讓大家走火入魔、咬文嚼字哦!

 

好啦,今天的文章就到這裏了,不知道有沒有幫大家增長一些巴利語和梵語藉詞的小知識呢?也希望大家學以致用,今後看到熟悉的前綴後綴,能夠快速反應過來哦。另外,感興趣的同學,本小編給大家推薦一本書,叫作《ภาษาบาลีสันสกฤตในภาษาไทย》。

 

(感謝圖片:Anchalee、粟米)

聲明:本文由滬江泰語編譯整理,未經允許禁止轉載。如有不妥,敬請指正。