當前位置

首頁 > 語言學習 > 泰語學習 > 泰語中平平無奇的“吃” 背後竟然也有這麼多門道

泰語中平平無奇的“吃” 背後竟然也有這麼多門道

推薦人: 來源: 閱讀: 3.12W 次

大家都知道,泰語其實是一種有着“等級”的語言,不同語境下、不同說話對象時可能都會導致我們使用的詞不一樣,就連“吃”這個簡單的動詞也有好多種說法,不知道大家都掌握了哪幾種呢?而在這些五花八門的用法中,รับประทาน可謂是處在金字塔頂端的了,它最爲正式,那你知道這個詞是怎麼來的嗎?又爲什麼拿來指代“吃”呢?

ing-bottom: 52.19%;">泰語中平平無奇的“吃” 背後竟然也有這麼多門道

ทุกชาติทุกภาษาทั่วโลกรู้จักคำว่ากิน และมีศัพท์เฉพาะเรียกกริยานั้น เช่น อังกฤษว่า Eat ฝรั่งเศสว่า Manger เวียดนามว่าอัง จีนว่าชื่อะ มอญว่าเจีย เขมรว่าซี มาเลย์ว่ามะกัน ไม่เห็นมีใครละอายกัน
世界上的每個民族每種語言都知 道吃這個詞,對這個動作也有專門的詞彙,比如英語叫做Eat ,法語叫做Manger ,越南語叫做Ang,中文叫做吃,孟語叫做Cia,高棉語叫做Chee,馬來語叫做Makan,沒有誰是沒有這個詞的。

คนไทยก็เช่นกัน อาหารการกินเป็นชีวิตจิตใจ และชาวบ้านมีคำว่ากิน ไม่เห็นน่ารังเกียจตรงไหน แต่ในสังคมสมัยปัจจุบัน “ผู้ดี” ละทิ้งคำว่ากิน ว่าหยาบคายแล้วนำคำรับประทานมาใช้เป็นกริยา หมายถึง “ผู้ดี” ขยับข้าวปลาเข้าปาก
泰國人也一樣,飲食是生命重要 的部分,普通民衆用กิน 這個詞,不覺得有什麼令人厭惡的,但是現在泰國社會上一些上流人士拋棄了這個詞,認爲不文雅,選擇了รับประทาน /rap4pra2thaan1/這個詞來指代上流人士把食物送進嘴裏嚼的動作。

แปลกดีไหม? คำว่ารับประทานโผล่มาจากไหน?
奇怪嗎?รับป ระทาน/rap4pra2thaan1/是從哪冒出來的呢?

 

หลักฐานนิรุกติศาสตร์
語源 學證據

คำว่าทาน (Dāna) เป็นคำนาม หมายถึงของที่ให้ไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งของที่คนมีมอบให้คนอนาถา (Alms, Charity) การตักบาตรหรือเลี้ยงพระคือทาน (Dāna) ในพุทธศาสนา และทุกศาสนาถือว่าการให้ทานแก่ผู้ขัดสนเป็นคุณอันประเสริฐ
ทาน (Dāna) /thaan1/是名詞,意思是“給的東西”,尤其是指送給孤兒的東西,或是佛教中的齋僧,每個宗教都把接濟貧苦的人視爲一種美德。

คำว่าประทาน เป็นกริยา หมายความว่ามอบให้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่ท่านผู้ใหญ่ยกของมีค่าให้ผู้น้อย เช่น “ท่านประทานรางวัลแก่ผู้ชนะ” ดังนั้นเมื่อใคร “รับประทานกล้วย” ก็น่าสงสัยว่า ท่านผู้ใดประทานกล้วยนั้นไป?
ประทาน /pra2thaan1/是動詞,意思是“給予,送給”,尤其是社會階層高的人向社會階層低的人送有價值的東西,比如“他爲獲獎者頒獎”,因此,當有人說:“吃香 蕉”的時候,就很奇怪,香蕉是誰贈與的呢?

ภาษาไทย (สันสกฤต) ยังมีอีกคำคล้ายประทาน คือประสาท ที่มีความหมายใกล้เคียงกัน เช่น ในวลี ประสาทพร ประสาทปริญญา คำนี้ยังปรากฏในพิธีกรรมพราหมณ์-ฮินดู
泰語(梵語)還有和ประทาน/pra2thaan1/ 類似的詞,那就是ประสาท /pra2saat2/,意思也相近,例如在ประสาทพร /pra2saat2 phɔɔn1/ ประสาทปริญญา /pra2saat2 pa2rin1yaa1/這樣的短語中,這個詞在婆羅門-印度教的儀式中也有出現。

 

หลักฐานจากเทวสถาน
來自神龕 的證據

สาธุชนชาวฮินดูที่หมายจะบูชาเทพเจ้าย่อมซื้อ “กระจาดบูชา” ที่ประกอบด้วยธูป เทียน กล้วย อ้อย มะพร้าว เครื่องหอม และธนบัตร พ่อพราหมณ์จะนำกระจาดเข้าไปถวายเทพเจ้าในปราสาท เก็บส่วนที่เป็นของพราหมณ์แล้วท่านจะนำเศษกล้วย อ้อย มะพร้าว ออกมา ยกเศษนั้นให้สาธุชน เศษกล้วย อ้อยนั้น นัยหนึ่งเรียกว่า Mangalam (มังคลัม) คือของศักดิ์สิทธิ์ อีกนัยว่า Prasādam (ประสาท) คือของที่เทพเจ้าทรงประสิทธิ์ประสาทมาเป็นเครื่องมงคลประดับความเจริญในชีวิต สาธุชนย่อมรับประทานเองบ้างและนำกลับไปให้ญาติรับประทานที่บ้าน
有宗教信仰的印度人祭拜神仙的時候都會用籃子,裏面有香、蠟燭、香蕉、甘蔗、椰子、香料和現金,婆羅門會將籃子拿到石宮中祭拜天神,留下天神的部分,將剩餘的香蕉、甘蔗、椰子拿出來,送給信徒們。剩餘的香蕉、椰子,可以叫做Mangalam(มังคลัม),意思是神聖的物品,也可以叫ว่า Prasādam (ประสาท),意思是天神詞語的讓生活更美好的聖物,信徒們會自己吃掉一部分,然後拿一部分回去給親戚家人。

泰語中平平無奇的“吃” 背後竟然也有這麼多門道 第2張

“ประสาทัม” หรือ “ประทนัม” บูชาเสร็จแล้วพราหมณ์คืนเศษ (มังคลัม) ให้สาธุชน ณ วัดพระศรีมาริยัมมัน (วัดแขก) ถนนสีลม บางรัก กรุงเทพมหานคร
曼谷Bangrak區Silom路Sri Mariamman寺,祭拜完之後,婆羅門將剩餘的貢品分發給信徒。

泰語中平平無奇的“吃” 背後竟然也有這麼多門道 第3張

พิธีโหมกูณฑ์ ณ วัดพระศรีมาริยัมมัน (วัดแขก) ถนนสีลม บางรัก กรุงเทพมหานคร
曼谷Bangrak區 Silom路Sri Mariamman寺火祭儀式

หลักฐานจากเทวสถานฮินดูอาจจะสำคัญ เพราะท่าน “วิศวมิตร์” เคยเสนอว่า ราชาศัพท์ของสยามหลายสำนวนแปลมาจากทมิฬคำต่อคำ
來自印 度教神看的證據非常重要,因爲衆友仙人曾經說過,很多暹羅的王室用語都是根據泰米爾語逐詞翻譯過來的。

 

ข้อสันนิษฐานจากสยาม
來自 暹羅的推測

1.สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ข้าราชการผู้ใหญ่ที่มาอยู่เวรในวังหลวงคงขัดสนเรื่องเสบียงอาหาร จะนำปิ่นโตเข้าไปก็ไม่ควร จะสั่งซื้อก๋วยเตี๋ยวจากข้างนอกก็ไม่สะดวก ท่านจึงคงอาศัยอาหารจาก “ครัวหลวง” ในวัง และสมควรพูดได้ว่า “ข้าพเจ้ารับประทานอาหาร” คือได้กินข้าวปลาอาหารที่พระมหากษัตริย์ประทานให้ (ของหลวง)
1.君主專制時期,在宮中的一些公職人員在糧食上短缺,帶着便當進去也不應該,去外面買粿條也不方便,所以這些人就必須依靠宮內王室御膳房的食物,應該說 :“我吃(被賜予)食物”,也就是吃到了國王御賜的食物。

2. หลังจากที่เลิกระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พ.ศ. 2475 บรรดาข้าราชการที่ยึดอำนาจต่างอยากอวดอ้างความเป็นผู้ดีที่มีสิทธิอำนาจปกครองสามัญชนชาวไทยธรรมดาๆ จึงยึดภาษาชาววังเป็นเครื่องมือ จะเรียกกันเองต้องใช้คำว่า “คุณ” คำว่า “ตีน”, “หมา”, “หมู”, กลายเป็นคำหยาบคาย ต้องเปลี่ยนเป็น “เท้า”, “สุนัข”, “สุกร” แล้วผู้ดีเทียมเหล่านี้ “กินข้าว” ไม่เป็น หาก “รับประทานอาหาร” เยี่ยงชาววังสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
2.在1932年結束了君主專制,獲得了權力的社會上流階級想要吹捧自己置於普通泰國民衆之上的地位,就用了以前宮中的語言作爲工具來吹捧,互相稱呼的時候 要用“คุณ”/khun/ ‘您’, “ตีน” /tiin1/ ‘腳’, “หมา” /maa5/ ‘狗’, “หมู” /muu5/ ‘豬’這樣的詞都要用“เท้า” /thau4/, “สุนัข”/su2nak4/, “สุกร” /su2kɔɔn1/,這些假貴族不會用กินข้าว這樣表示吃飯的詞彙,而是選擇了君主專制時期宮中人รับประทาน的說法。

3. ในที่สุดคำว่ารับประทานเล็ดลอดเข้ามาในภาษาผู้ดีชาวกรุงโดยทั่วไปจนลืมที่มาของคำนี้ คุณชายชาวไฮโซจึงกล่าวกับแขกผู้มีเกียรติว่า “เชิญรับประทานอาหารค่ะ” ทั้งๆ ที่อาหารนั้นออกมาจากครัวของเธอเอง (ไม่ใช่ครัวหลวง) และเธอไม่มีสิทธิ์จะ “ประทาน” อะไรแก่ใครทั้งนั้น
3.最後รับประทาน滲透到了城市中的上流階層中,以至於他們都忘記了這個詞的來源,上流貴族們會和貴客們說:“請รับประทาน(吃)飯。”儘管這些吃的是來自他們自己的廚房,而不是御膳房,他們並沒有什麼權力去賜予別人什麼。

 

希望大家以後在講泰語的時候也能正確使用“吃”這個詞哦!

 

聲明:本文由滬江泰語編譯整理,素材來自silpa-mag,未經允許不得轉載。如有不妥,敬請指正。